วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2552

วิธีการทำแมโครในไมโครซอฟเวิร์ด
1. บนเมนู เครื่องมือ ในโปรแกรม Word ให้ชี้เมาส์ไปที่ แมโคร และคลิก
บันทึกแมโครใหม่ เพื่อแสดงกล่องโต้ตอบ บันทึกแมโคร

2. ในช่อง เก็บแมโครไว้ที่

3. ให้คลิก เอกสารทั้งหมด (Normal.dot)

4. คลิก ตกลง แถบเครื่องมือ การบันทึก จะปรากฏ




5. พิมพ์ข้อความต่อไปนี้: Copyright XYZ Corporation. You may not modify,copy, or distribute any information contained in this document without our prior permission.

6. บนแถบเครื่องมือ การบันทึก ให้คลิก หยุดการบันทึก

7. เปิดเอกสาร Word ใหม่อีกเอกสารหนึ่ง และบนเมนู เครื่องมือ ให้ชี้เมาส์ไปที่คำว่า แมโคร และคลิก แมโคร เพื่อแสดงกล่องโต้ตอบ แมโคร


8.ในรายการ แมโครใน ให้คลิก Normal.dot (แม่แบบส่วนรวม)

9. ในรายการ ชื่อแมโคร ให้คลิก InsertLegalTextและคลิก เรียกใช้ ข้อความที่คุณพิมพ์
ในขั้นตอนที่ 5 จะปรากฏในเอกสารใหม่

วันพุธที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2552

คำสั่งเบื้องต้น
ฟังก์ชั่น printf()
ฟังก์ชั้นนี้เราได้ทดลองใช้อย่างง่ายๆ มาแล้ว โดยใช้สำหรับแสดง
ข้อความหรือตัวแปร
ฟังก์ชั่น printf() มีชื่อเต็มว่า print format เป็นฟังชั่นใช้พิมพ์ข้อความต่างๆออกทางจอภาพ
โดยมีรูปแบบดังนี้
รูปแบบคำสั่ง printf

ตัวอย่าง

#include
#include
main()
{
int x,y;
x=5;
y=6;
printf("%d\n",x);
printf("%c\n",x);
printf("%d %d\n",x,y);
printf("%d\n"125);
printf("%c\n"125);
printf("The total is $ %6.2f\n",12.5);
printf("The total is $ %6.3f\n",12.5);
}
ฟังก์ชัน scanf()
ฟังก์ชั่นนี้จะตรงข้ามกับฟังก์ชั่น printf() โดยจะใช้อ่านค่าจากการ
กดป้นพิมพ์ที่อยู่ในรูปรหัส ASCII ไปเก็บในตัวแปรที่กำหนด
และสามารถใช้เป็นรหัสควบคุมหรือ Control stringระบุชนิดของข้อมูล
ที่จะเก็บในตัวแปรได้
รูปแบบคำสั่ง scanf()

ตัวอย่าง

#include
#include
main
{
int feet,inches;
printf("Enter number of feet");
scanf("%d",&feet);
inches = feet*12;
printf("%d inches ",inches);
}
ฟังก์ชัน getchar()
getchar() รับข้อมูลตัวอักขระหนึ่งตัวเมื่อป้อนข้อมูลแล้วต้องกด
รูปแบบคำสั่ง getchar()

เมื่อโปรแกรมทำงานถึงคำสั่งนี้จะหยุดเพื่อให้ป้อนตัวอักษร 1 ตัว หลังจากนั้นกด Enter

ตัวอักษรที่ป้อนจะถูกเก็บไว้ในตัวแปร ch ซึ่งเป็นชนิดตัวอักษรและเคอร์เซอร์จะขึ้นบรรทัดใหม่

ฟังก์ชัน getchar() กำหนดในไฟล์ stdio.h เช่นเดียวกับฟังก์ชัน scanf()

ตัวอย่าง

#include

#include

main()

{

int number1,number2;printf("please input number1:");

scanf("%d",&number1:);

printf("please input number2:");

scanf("%d",&number2:);

printf("%d+%d=%d",number1,number2,number1+number2);

getchar();

getchar();

}

ฟังก์ชัน getch( )เป็นฟังก์ชันที่ใช้รับข้อมูลเพียง 1 ตัวอักขระเหมือนกับฟังก์ชัน getchar( ) แตกต่างกันตรงที่

เมื่อใช้ฟังก์ชันนี้รับข้อมูล ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปจะไม่ปรากฏให้เห็นบนจอภาพและไม่ต้องกดแป้น enter ตาม

รูปแบบคำสั่ง getch()






โดยที่ getch( ) คือ ฟังก์ชันที่ใช้รับข้อมูลเพียง 1 ตัวอักขระ


จากคีย์บอร์ด โดยฟังก์ชันนี้จะไม่มี argument ดังนั้นอาจจะใช้ getch


(void) แทนคำว่า getch( ) ก็ได้ แต่นิยมใช้ getch( ) มากกว่า


char_var คือ ตัวแปรชนิด char ซึ่งจะเก็บข้อมูล 1 ตัวอักขระที่ป้อนผ่าน


ทางคีย์บอร์ดฟังก์ชัน gets


ฟังก์ชัน gets() ใช้สำหรับข้อมูลชนิดสตริงก์หรือข้อความซึ่งป้อน


ทางแป้นพิมพ์รูปแบบคำสั่ง gets()






เมื่อโปรแกรมทำงานถึงคำสั่งนี้จะหยุดเพื่อให้ป้อนข้อความ
เมื่อป้อนเสร็จแล้วกด Enter ข้อความทั้งหมดจะถูกเก็บไว้ในอาร์เรย์สตริงก์ str
โดย carriage return ( จากการกด Enter) จะแทนด้วยสตริงก์ศูนย์ดังได้กล่าว
ฟังก์ชัน gets() จะทำให้เคอร์เซอร์ขึ้นบรรทัดใหม่หลังจากกด Enter และกำหนดในไฟล์ stdio.h

ตัวอย่าง#include
main()
{
char message[50];
printf(“ Enter a message(less than 49 characters)\n”);
gets(message);
printf(“ The message you entered is %s\n”,message);
}
ผลลัพธ์
Enter a message(less than 49 characters)
Kiss and say good-bye
The message you entered is Kiss and say good-bye

วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

คำสั่งเบื้องต้นในภาษาC

คำสั่งเบื้องต้นในภาษา C
printf:เป็นคำสั่งใช้ในการแสดงผลข้อมูล
Ex. printf("%d"&number1);
scanf:เป็นคำสั่งใช้ในการเก็บค่าตัวแปร
Ex. scanf("%d",number1);
clrscr:เป็นคำสั่งใช้เคลียร์หน้าจอ
if,else:เป็นคำสั่งใช้ทดสอบว่าจะเป็นจริงหรือไม่
Ex. if(number1>number2)
printf("%d",number1);
else if(number2>number1)
printf("%d",number2);
for:เป็นคำสั่งทำซ้ำจนกว่าค่าตัวเเปรจะครบตามที่ตั้งไว้
Ex. for(counter = 1 ; counter <= 10 ; counter++)
printf("%d,counter);

วันพุธที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

ประวัติภาษาซี
ภาษาซีพัฒนาขึ้นมาในปี 1970 โดย Dennis Ritchie แห่ง Bell Telephone Labora-tories, Inc. (ปัจจุบันคือ AT&T Bell Laboratories) ซึ่งภาษาซีนั้นมีต้นกำเนิดมาจากภาษา 2 ภาษา คือ ภาษา BCPL และ ภาษา B ซึ่งต่างก็เป็นภาษาที่พัฒนาขึ้นมาใน Bell Laboratories เช่นกัน ภาษาซีนั้นถูกใช้งานอยู่เพียงใน Bell Laboratories จนกระทั่งปี 1978 Brian Kernighan และ Ritchieนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อของ"K&R C"หลังจากที่ตีพิมพ์ข้อกำหนดของ K&R นักคอมพิวเตอร์มืออาชีพรู้สึกประทับใจกับคุณสมบัติที่น่าสนใจของภาษาซี และเริ่มส่งเสริมการใช้งานภาษาซีมากขึ้น ในกลางปี 1980 ภาษาซีก็กลายเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมโดยทั่วไป มีการพัฒนาตัวแปลโปรแกรม และตัวแปลคำสั่งภาษาซีจำนวนมากสำหรับคอมพิวเตอร์ทุกขนาด และภาษาซีก็ถูกนำมาไปใช้สำหรับพัฒนาโปรแกรมเชิงพาณิชย์เป็นจำนวนมาก ยิ่งไปกว่านั้นโปรแกรมเชิงพาณิชย์ที่เคยพัฒนาขึ้นมาโดยใช้ภาษาอื่น ก็ถูกเขียนขึ้นใหม่โดยใช้ภาษาซี เนื่องจากความต้องการใช้ความได้เปรียบทางด้านประสิทธิภาพ และความสามารถในการเคลื่อนย้ายได้ของภาษาซีตัวแปลโปรแกรมภาษาซีที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาในเชิงพาณิชย์นั้น จะมีความแตกต่างกับข้อกำหนดของ Kernighan และ Ritchie อยู่บ้าง จากจุดนี้เองทำให้เกิดความไม่เข้ากันระหว่างตัวแปลโปรแกรมภาษาซีซึ่งก็ทำให้สูญเสียคุณสมบัติการเคลื่อนย้ายได้ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สำคัญของภาษา ดังนั้นสถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกัน (American National Standard Institute) หรือ แอนซี (ANSI) จึงเริ่มจัดทำมาตรฐานของภาษาซีขึ้น (ANSI committee X3J11X ซึ่งกำลังอยู่ในช่วงการดำเนินงาน

วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ นางสาว กรรณิการ์ ชุนใช้

ชื่อเล่น เมย์

อายุ 16 ปี เกิดวันที่ 10 กันยายน 2535

กำลังศึกษาอยู่ชั้น ปวช.2/3 แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี

E-mail : kannika_chunchai1018@hotmail.com